ตลาดหุ้นไทยในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา (22-26 มี.ค.) มีมูลค่าการซื้อขายรวม 4.23 แสนล้านบาท โดยเป็นมูลค่าจากธุรกรรมการขายชอร์ต (Short Sale) จำนวน 2.12 หมื่นล้านบาท สำหรับ 10 หุ้นที่มีมูลค่าการขายชอร์ตมากสุด ได้แก่
1. KBANK ปริมาณหุ้นที่ขายชอร์ต 8,727,500 หุ้น มูลค่าการขายชอร์ต 1.26 พันล้านบาท
2. PTT ปริมาณ 24,716,600 หุ้น มูลค่า 992 ล้านบาท
3. OR ปริมาณ 29,460,000 หุ้น มูลค่า 949 ล้านบาท
4. EA ปริมาณ 14,104,100 หุ้น มูลค่า 852 ล้านบาท
5. CPALL ปริมาณ 12,281,200 หุ้น มูลค่า 827 ล้านบาท
6. ADVANC ปริมาณ 4,172,400 หุ้น มูลค่า 716 ล้านบาท
7. SAWAD ปริมาณ 7,862,000 หุ้น มูลค่า 669 ล้านบาท
8. CPF ปริมาณ 23,155,700 หุ้น มูลค่า 684 ล้านบาท
9. AOT ปริมาณ 8,806,500 หุ้น มูลค่า 591 ล้านบาท
10. SCB ปริมาณ 4,951,100 หุ้น มูลค่า 574 ล้านบาท
* รวมมูลค่ารายการที่ชื่อย่อหลักทรัพย์ต่อด้วย "-R" หมายถึงข้อมูลธุรกรรมขายชอร์ตในเอ็นวีดีอาร์ แต่ไม่รวมรายการขายชอร์ตของสมาชิกที่เป็นผู้ร่วมค้าหน่วยลงทุนหรือผู้ดูแลสภาพคล่องของหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอีทีเอฟเพื่อบัญชีบริษัทประเภทเพื่อทำกำไรจากส่วนต่างของราคาหรือเพื่อดูแลสภาพคล่อง แล้วแต่กรณี
ทั้งนี้ ชอร์ตเซลเป็นเครื่องมือที่ให้นักลงทุนสามารถยืมหุ้นจากโบรกเกอร์ที่ตนมีบัญชีซื้อขาย เพื่อนำหุ้นดังกล่าวมาขายทำกำไรขาลง และซื้อกลับในราคาที่ถูกกว่าต้นทุนเพื่อคืนหุ้นแก่โบรกเกอร์
แหล่งข่าว เปิด 10 อันดับหุ้น ถูก "ชอร์ตเซล" หนักสุด นักลงทุนฟันกำไรขาลง, Bangkokbiznews, 28 มี.ค. 2564
1. KBANK ปริมาณหุ้นที่ขายชอร์ต 8,727,500 หุ้น มูลค่าการขายชอร์ต 1.26 พันล้านบาท
2. PTT ปริมาณ 24,716,600 หุ้น มูลค่า 992 ล้านบาท
3. OR ปริมาณ 29,460,000 หุ้น มูลค่า 949 ล้านบาท
4. EA ปริมาณ 14,104,100 หุ้น มูลค่า 852 ล้านบาท
5. CPALL ปริมาณ 12,281,200 หุ้น มูลค่า 827 ล้านบาท
6. ADVANC ปริมาณ 4,172,400 หุ้น มูลค่า 716 ล้านบาท
7. SAWAD ปริมาณ 7,862,000 หุ้น มูลค่า 669 ล้านบาท
8. CPF ปริมาณ 23,155,700 หุ้น มูลค่า 684 ล้านบาท
9. AOT ปริมาณ 8,806,500 หุ้น มูลค่า 591 ล้านบาท
10. SCB ปริมาณ 4,951,100 หุ้น มูลค่า 574 ล้านบาท
* รวมมูลค่ารายการที่ชื่อย่อหลักทรัพย์ต่อด้วย "-R" หมายถึงข้อมูลธุรกรรมขายชอร์ตในเอ็นวีดีอาร์ แต่ไม่รวมรายการขายชอร์ตของสมาชิกที่เป็นผู้ร่วมค้าหน่วยลงทุนหรือผู้ดูแลสภาพคล่องของหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอีทีเอฟเพื่อบัญชีบริษัทประเภทเพื่อทำกำไรจากส่วนต่างของราคาหรือเพื่อดูแลสภาพคล่อง แล้วแต่กรณี
ทั้งนี้ ชอร์ตเซลเป็นเครื่องมือที่ให้นักลงทุนสามารถยืมหุ้นจากโบรกเกอร์ที่ตนมีบัญชีซื้อขาย เพื่อนำหุ้นดังกล่าวมาขายทำกำไรขาลง และซื้อกลับในราคาที่ถูกกว่าต้นทุนเพื่อคืนหุ้นแก่โบรกเกอร์
แหล่งข่าว เปิด 10 อันดับหุ้น ถูก "ชอร์ตเซล" หนักสุด นักลงทุนฟันกำไรขาลง, Bangkokbiznews, 28 มี.ค. 2564