เพื่อเริ่มการซื้อขายฟอเร็กซ์ ต้องทำอย่างไร

Foun Thai

Administrator
ขั้นตอนที่ 1 ลงทะเบียน และ เลือกแพลตฟอร์ม
เปิดบัญชีสำหรับแพลตฟอร์มที่คุณต้องการ (ทางเราแนะนำให้เลือกแพลตฟอร์ม 'เดโม' หากคุณเป็นนักเทรดหน้าใหม่) และเลือกระดับ leverage และ ค่าเงินฐาน
ขั้นตอนที่ 2 เลือกประเภทสินทรัพย์ หรือตราสารทุน
พิจารณาว่าตราสารทุนประเภทไหนที่คุณประสงค์จะขาย จากนั้นกรุณาอ่านทำความเข้าใจลักษณะและเงื่อนไขการขาย
ขั้นตอนที่ 3 ตัดสินใจเลือกทิศทางการขาย
หลักการง่ายๆ คือ ให้ซื้อหากคุณคิดว่าราคาจะเพิ่มขึ้น และ ให้ขายหากคุณคิดว่าโควตจะลดต่ำลง
การตัดสินใจนี้ต้องขึ้นอยู่กับกลยุทธ์การขายของคุณ คุณอาจจะใช้เครื่องมือวิเคราะห์แบบพื้นฐานหรือทางเทคนิค ตัวชี้วัดทางเทคนิค EAs หรือเครื่องมืออื่นๆ ก็ได้คุณจะใช้คำสั่ง หยุด หรือ จำกัดออเดอร์ก็ได้ ซึ่งจะช่วยเปิดตำแหน่งในการขายให้กับคุณทันทีที่ราคาไต่ไปถึงระดับที่คุณเลือก ข้อพึงระวัง คือ คำสั่งหยุดซื้อ/ขายมักใช้ในกรณีที่คาดว่าราคาจะเคลื่อนไหวเรื่อยๆ โดยตัวคำสั่งหยุดขายและหยุดซื้ออยู่เหนือและใต้ระดับราคาตลาดปัจจุบัน ตามลำดับคำสั่งจำกัดซื้อ/ขายใช้ในกรณีที่คาดการณ์ว่าระดับราคาจะวกกลับ โดยตัวคำสั่งจำกัดขายและจำกัดซื้ออยู่ใต้และอยู่เหนือระดับราคาตลาดปัจจุบัน ตามลำดับคุณจะเพิ่มคำสั่งกำหนดจุดขาดทุน หรือ จุดเอากำไรไว้ที่คำสั่งซื้อขายล่วงหน้าก็ได้
ขั้นตอนที่ 4 กำหนดขนาดการขาย
ตัดสินใจว่าจะให้ตราสารทุนมีมูลค่าเท่าใดในการขาย และคุณพร้อมที่จะรับความเสี่ยงได้มากแค่ไหน ขนาดการขายอาจแสดงด้วยจำนวนล็อต เช่น 1.0 ล็อต หรือแสดงด้วยยูนิต เช่น 1000 ยูนิต พึงจำไว้ว่าขนาดของการขายส่งผลต่อมูลค่าทางการเงินของ pip และ tick
ขั้นตอนที่ 5 กำหนดระดับของคำสั่งหยุดการขาดทุน (Stop Loss) หรือ จุดเอากำไร (Take Profit)
คำสั่งหยุดการขาดทุน หรือ จุดเอากำไรอาจติดอยู่กับ open trade ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการขายนี้ควรจะถูกปิดทันทีที่ราคาไต่ขึ้นไปถึงระดับที่ตั้งไว้แล้วข้อพึงระวัง คือ คำสั่งหยุดการขาดทุนใช้เพื่อจำกัดปริมาณการขาดทุนและตั้งอยู่ใต้ระดับราคาปัจจุบันสำหรับขาย และอยู่เหนือราคาซื้อ
คำสั่งเอากำไรใช้เพื่อกำหนดขอบเขตที่จะเอากำไรและอยู่เหนือระดับราคาปัจจุบันเพื่อซื้อ คุณจะปรับเปลี่ยนตำแหน่งเหล่านี้ใหม่ก็ได้ก่อนวางตำแหน่งการขาย หรือเพิ่มคำสั่งนี้ไปที่การขายที่มีอยู่แล้วก็ได้ คุณไม่จำเป็นต้องใช้คำสั่งหยุดการขาดทุน หรือ เอากำไรเสมอไป แต่เราแนะนำให้ใช้คำสั่งนี้เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากคุณไม่ได้เฝ้าหน้าจอในการขายตลอดเวลา
***สิ่งที่สำคัญคือ การใช้คำสั่งหยุดการขาดทุนไม่ได้เป็นการยืนยันว่าการขายจะไปปิดที่ตำแหน่งที่คุณกำหนดไว้ เนื่องจากตำแหน่งนี้ถูกกำหนดโดย 'สภาพของตลาด'
ขั้นตอนที่ 6 สังเกตการณ์ตำแหน่ง
หลังจากวางคำสั่งแล้ว คุณสามารถสังเกตความผันผวนของกำไรหรือขาดทุนที่เรายังไม่รับรู้ได้ในเวลาจริงบนแพลตฟอร์มการขายของคุณ ซึ่งอาจจะเป็นหน้าเดสก์ท็อปหรือบนมือถือ ซึ่งมักแสดงในรูปแบบค่าเงินฐานของบัญชีคุณโดยอัตโนมัติพึงจำว่าในการขายและการซื้อนั้น คุณต้องติดตามราคาตลาด และราคา Ask ตามลำดับ เพราะเป็นราคาที่ใช้ในการปิดการขาย
คุณควรทำตามกลยุทธ์การขายของคุณ และไม่เอนเอียงไปตามอารมณ์ โดยอาศัยจิตวิทยาในการขาย (อ่านเอกสารทางการศึกษาเรื่องจิตวิทยาของทางเราได้)
ขั้นตอนที่ 7 ตำแหน่งที่ปิดการขาย
คุณปิดการขายได้ทุกเมื่อด้วยการกดที่ปุ่ม ปิด หรือรอจนกว่าราคาไต่ไปที่ระดับหยุดการขาดทุน หรือ จุดเอากำไร
คุณหยุดการขายในปุ่มเดียวได้ด้วยฟีเจอร์ ‘one-click trading’ โดยไม่ต้องทำการยืนยันตลอดทุกๆ ครั้งทันทีที่ปิดการขายแล้ว บัญชีการขายจะแสดงยอดกำไรหรือยอดขาดทุนของคุณ
นอกจากคำสั่งหยุดขาดทุนหรือเอากำไรแล้ว คำสั่ง stop out หรือการที่สัญญาฟิวเจอร์สหมดอายุก็ทำให้การขายหยุดทันทีได้ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาดูเอกสารเกี่ยวกับข้อกำหนดในการขาย

ข้อมูลจาก Tradersthailand
 

forex man

New member
ผมมีบัญชีแล้ว ตอนนี้กำลังฝึกเทรดอยู่ มีใครสนใจมาศึกษากันไหมครับ
 

Members online

No members online now.

Forum statistics

Threads
12,124
Messages
12,379
Members
319
Latest member
SEO01

สนับสนุนโดย

Top